แนวทางการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กต่ำกว่า 3 ปี

แนวทางการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและ การเรียนรู้ของเด็กอายุต�่ำกว่า 3 ปี กรมอนามัย 31 แนวทางการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและ การเรียนรู้ของเด็กอายุต�่ำกว่า 3 ปี กรมอนามัย 30 ทารก เด็กเล็ก เด็กโต แรกเกิด- 6 เดือน 6-9 เดือน 9-12 เดือน 12-18 เดือน 19-24 เดือน 25-36 เดือน 37-72 เดือน 2. กอด : เน้นการ สัมผัสและการมี ปฏิสัมพันธ์ทุกรูปแบบ อุ้มสัมผัสอย่าง อ่อนโยน อยู่ข้างๆ ลูก เมื่อลูก ส�ำรวจค้นหา เล่นสิ่ง ใหม่ๆ ยิ้มพยักหน้า ให้ลูก มั่นใจ อ้าแขนรับโอบ กอด ปลอบประโลม เมื่อลูกเจ็บกลัว วัยนี้เป็นวัยช่างส�ำรวจ และเรียนรู้ ควร สนับสนุนให้ลูกกล้า เล่น กล้าทดลอง พ่อ แม่อยู่ใกล้ข้างๆ ให้ ความมั่นใจกับลูกไม่ แสดงท่าทีกังวลเกิน ไป พ่อแม่ไม่ควรบังคับ หรือเอาชนะเด็กตรงๆ แต่ไม่ตามใจ ถ้าลูก ต่อต้านอาละวาด ให้ ยืนยันด้วยท่าทีสงบ นุ่มนวล หนักแน่น ใช้การโอบกอด พูด แสดงความเข้าใจเพื่อ ช่วยลูกจัดการ อารมณ์ของตนเอง และไม่ควรลงโทษลูก ด้วยอารมณ์ ช่วยลูกเตรียมความ พร้อมก่อนและหลัง กลับจากโรงเรียน 3. เล่น : การจัด กิจกรรมที่ท�ำให้ เด็กเกิดความสนุก เพลิดเพลินผ่อนคลาย สิ่งส�ำคัญคือ ส่งเสริม การเรียนรู้ พ่อแม่ชวนลูกเล่น เพื่อกระตุ้นประสาท สัมผัส การมอง การได้ยิน ชวนลูกเล่นสิ่งของ อะไรง่ายๆ รอบตัว เน้นความสนุกสนาน ระหว่างพ่อแม่และลูก ให้ลูกเป็นผู้น�ำใน การเล่นตามสิ่งที่ลูก สนใจ ฝึกการเคลื่อนไหวของ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ และมัดเล็ก เช่น เหวี่ยงขาเตะลูกบอล ได้ ให้เด็กเล่นรูปต่อ เป็นภาพ หุ่นมือ หรือ กระโดด ปีนป่าย และ วิ่งเล่นอิสระ ส่งเสริมกรเล่นสมมุติ ที่เป็นเรื่องราวต่อเนื่อง ช่วยลูกแต่งเรื่อง และ พ่อแม่เล่นบทบาท สมมติกับลูก 4. เล่า : เน้นการ สื่อสารระหว่างพ่อแม่ ผู้ปกครองกับลูก ชวนลูกคุย ร้องเพลง อ่านหนังสือเพลง กล่อมเด็ก เล่านิทานที่มีเสียง คล้องจอง อ่านนิทาน ที่มีรูปวาดง่ายๆ มองหน้าสัมผัสลูก ระหว่างเล่านิทาน อ่านหนังสือนิทานที่มี สิ่งที่ลูกชอบ เช่น รถ สัตว์ หรือเรื่องใกล้ๆ ตัว เล่านิทานได้หลายรูป แบบ เช่น เล่าจาก หนังสือเล่าเรื่องแต่ง เอง แทรกเนื้อหาเกี่ยว กับความรักความ ผูกพันในครอบครัว ชวนลูกคุยเกี่ยวกับ ตัวละครหรือเนื้อเรื่อง ที่อ่าน จัดเวลาอ่านหนังสือ กับลูกอย่างสม�่ำเสมอ และให้ลูกมีส่วนร่วม ในการอ่านนิทาน กิจกรรม ช่วงอายุ ทารก เด็กเล็ก เด็กโต แรกเกิด- 6 เดือน 6-9 เดือน 9-12 เดือน 12-18 เดือน 19-24 เดือน 25-36 เดือน 37-72 เดือน 5. นอน : การพัก หลับเพื่อให้ร่างกายได้ พักผ่อน เพราะ ขณะ ที่เด็กนอนหลับจะมี ฮอร์โมนเรียกว่า โกรท ฮอร์โมน(Growth Hormone) ออกมา กระตุ้นให้ร่างกาย เติบโต ใยประสาท จะเชื่อมโยงกับเซลล์ จึงท�ำให้สมองเติบโต ด้วย 14-17 ชม/วัน จะมี การนอนและตื่นเป็น วงจรทุก 3 ชม. ช่วงนี้จ�ำเป็นที่จะให้ นมแม่ ตามความ ต้องการของเด็กก่อน และอุ้มเรอหลังกินนม 12-15 ชม/วัน นอนติดต่อกันได้ถึง 5 ชม. และเด็กควรจะหลับได้ด้วยตนเอง เด็กจะนอนวันละประมาณ 11-14 ชม/วัน เด็กจะนอนวันละ 13 ชม. และ ส่วนใหญ่มักไม่นอน ตอนเช้า นอนช่วงบ่ายวันละ 1 ครั้ง 6. เฝ้าดู : เฝ้าระวัง ความปลอดภัย เช่น อุบัติเหตุ/ความรุนแรง ในครอบครัว/ การป้องกันโรค/ การได้รับวัคซีน - การนอนของ เด็ก - การหายใจ ไม่ออก จากการ นอนในท่าที่ไม่ เหมาะสม การพลัดตกจากที่สูง เมื่อเด็กสามารถ เคลื่อนไหวด้วย การคว�่ำได้เอง ผู้ดูแลไม่ปล่อยเด็กไว้ ตามล�ำพังในที่สูง เช่น บนเตียง โต๊ะ การกลืนสารพิษ เมื่อ เด็กอายุ 6 เดือนขึ้น ไป เริ่มคลานได้ ชอบ ใช้มือหยิบจับสิ่งของ ต่างๆ ที่เด็กคว้าหยิบ เข้าปากได้ ผู้ดูแลควรเก็บ สารพิษไว้ในที่ที่ ปลอดภัยพ้นจาก มือเด็ก ควรท�ำที่กั้น ไม่ให้คลานเข้าไปหยิบ มาเล่นได้ การจมน�้ำ ไม่ปล่อย ให้เด็กทารกนั่งอาบน�้ำ ในอ่างอาบน�้ำตาม ล�ำพัง อาจท�ำให้ตัว เอียงจมลงในน�้ำ หรือ หน้าคะม�ำลงไปในน�้ำ ท�ำให้เด็กส�ำลักและ เสียชีวิตได้ การดูแลเด็กเป็น ไข้หวัด/อุจจาระร่วง/ อาการที่ต้องพาเด็กไป พบแพทย์ทันที การบาดเจ็บจาก จราจร *การได้รับวัคซีน ดู ตามตารางการได้รับ วัคซีนของกระทรวง สาธารณสุข 7. เฝ้าดูฟัน ใช้ผ้าสะอาดชุบน�้ำต้มสุกที่เย็นแล้วเช็ดกระพุ้ง แก้ม เพดาน สันเหงือก ลิ้น วันละ 2 ครั้ง เช้า และเย็น ในช่วงอาบน�้ำให้เด็ก - การแปรงฟันให้เด็กหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสม ฟลูออไรด์ เริ่มฝึกให้เด็กแปรงฟันเองโดยมีผู้ปกครองหรือ ครูผู้ดูแลเด็ก เป็นผู้ฝึกทักษะและแปรงซ�้ำให้ สะอาด กิจกรรม ช่วงอายุ

RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=