แนวทางการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กต่ำกว่า 3 ปี

แนวทางการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและ การเรียนรู้ของเด็กอายุต�่ำกว่า 3 ปี กรมอนามัย 38 แนวทางการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและ การเรียนรู้ของเด็กอายุต�่ำกว่า 3 ปี กรมอนามัย 39 ตัวอย่างเครื่องชั่งน�้ำหนักเด็กแนวนอน ตัวอย่างการชั่งน�้ำหนักเด็กแนวนอนและแบบยืน ตัวอย่างเครื่องชั่งน�้ำหนักเด็กแบบยืน 2) วิธีการชั่งน�้ำหนัก 1. ควรชั่งน�้ำหนักเมื่อเด็กยังไม่ได้รับประทานอาหารจนอิ่ม 2. ควรชั่งน�้ำหนักในช่วงเวลาเดียวกันเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของน�้ำหนักหรือภาวะโภชนาการ เป็นรายบุคคล 3. ควรถอดเสื้อผ้าออกให้เหลือเท่าที่จ�ำเป็นโดยเฉพาะเสื้อผ้าหนาๆ รวมทั้งรองเท้าถุงเท้า และน�ำของเล่น/ สิ่งของออกจากตัวเด็ก - การวัดความยาวหรือส่วนสูง 1) การเลือกเครื่องวัดความยาว/เครื่องวัดส่วนสูง เครื่องวัดความยาว/เครื่องวัดส่วนสูง ต้องมีตัวเลขชัดเจน ความละเอียด 0.1 เซนติเมตรและเรียงต่อกัน เช่น จาก 0,1,2....10,11,12...20,21,22..... เซนติเมตร และมีไม้ฉากส�ำหรับวัดค่าความยาว/ส่วนสูง 2) การเตรียมเครื่องวัดความยาว เครื่องวัดความยาว ใช้ในเด็กอายุต�่ำกว่า 2 ปีเนื่องจากเด็กยังไม่สามารถยืนเหยียดได้ตรงเครื่องวัด ความยาวมีขายแบบส�ำเร็จรูป แต่ถ้ายังไม่สามารถหาซื้อมาใช้ได้อาจท�ำเครื่องวัดความยาวใช้ชั่วคราวไปก่อน โดยมีวิธีดังนี้ 1. ใช้สายวัดไม่ยืดไม่หด ตัวเลขมีความละเอียด 0.1 เซนติเมตร ตัวเลขเรียงต่อกัน เช่น 0,1,2...10,11, 12,....20,21,22,...เซนติเมตร ตัดปลายสายวัดให้พอดีกับเลขศูนย์ 2. น�ำไปวางบนโต๊ะที่พื้นเรียบตรง ไม่โค้งงอ โดยปลายสายวัดที่เลขศูนย์อยู่พอดีกับ ปลายโต๊ะ และสายวัด วางทาบชิดขอบโต๊ะ ท�ำให้เรียบและยึดด้วยเทปใสที่สามารถเห็นตัวเลขได้แต่ต้องให้ติดแน่น 3. จากนั้นน�ำโต๊ะนี้ไปวางติดกับผนังหรือเสาที่ใหญ่พอกับศีรษะเด็ก และต้องมีไม้ฉากส�ำหรับวัดค่าความยาว 0 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 ตัวอย่างเครื่องวัดความยาวส�ำหรับเด็กอายุ 0-2 ปี ความละเอียด 0.1 เซนติเมตร 4. หากใช้เครื่องชั่งน�้ำหนักแบบเข็มควรปรับเข็มให้อยู่ที่เลข 0 ทุกครั้งที่มีการใช้งานและดูให้แน่ใจว่า ยังอยู่ที่เลข 0 ก่อนชั่งคนต่อไป 5. ควรใช้เครื่องชั่งเดิมทุกครั้งในการติดตามการเจริญเติบโต 4. ในกรณีที่ใช้เครื่องชั่งน�้ำหนักแบบยืนชนิดเข็ม - ผู้ที่ท�ำการชั่งน�้ำหนักจะต้องอยู่ในต�ำแหน่งตรงกันข้ามกับเด็ก ไม่ควรอยู่ด้านข้างทั้งซ้ายหรือขวาเพราะจะ ท�ำให้อ่านค่าน�้ำหนักมากไปหรือน้อยไปได้ - เข็มที่ชี้ไม่ตรงกับตัวเลขหรือขีดแบ่งน�้ำหนัก ต้องอ่านค่าน�้ำหนักอย่างระมัดระวัง เช่น 10.1 หรือ 10.2 หรือ 10.8 กิโลกรัม 5. อ่านค่าให้ละเอียดมีทศนิยม 1 ต�ำแหน่ง เช่น 10.6 กิโลกรัม 6. จดน�้ำหนักให้เรียบร้อยก่อนให้เด็กลงจากเครื่องชั่ง 3) วิธีการวัดความยาว เด็กอายุต�่ำกว่า 2 ปีต้องวัดให้อยู่ในท่านอนที่เรียกว่า วัดความยาว ซึ่งควรมีผู้วัดอย่างน้อย 2 คน โดย คนหนึ่งจับด้านศีรษะและล�ำตัวให้อยู่ในท่านอนราบ ตัวตรง ไม่เอียง ส่วนอีกคนหนึ่งจับเข่าให้เหยียดตรงและ เคลื่อนไม้ฉากเข้าหาฝ่าเท้าอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีวิธีการดังนี้ 1. ถอดหมวก รองเท้าออก 2. นอนในท่าขาและเข่าเหยียดตรง ส่วนศีรษะชิดกับ ไม้วัดที่ตั้งฉากอยู่กับที่ 3. เลื่อนไม้วัดส่วนที่ใกล้เท้าให้มาชิดกับปลายเท้า และส้นเท้าที่ตั้งฉากกับพื้น 4. อ่านค่าให้ละเอียดถึง 0.1 เซนติเมตร เช่น 70.2 เซนติเมตร การวัดความยาวส�ำหรับเด็กอายุ 0-2 ปี

RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=