แนวทางการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กต่ำกว่า 3 ปี

แนวทางการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและ การเรียนรู้ของเด็กอายุต�่ำกว่า 3 ปี กรมอนามัย 44 4. ไดรับการดูแลเรื่องสุขอนามัยส่วนบุคคล พฤติกรรมอนามัยเปนเรื่องส�ำคัญ มากที่สุดในการป้องกันควบคุมโรค พฤติกรรมอนามัยที่เหมาะสมส�ำหรับเด็กคือการ ฝึกให้เด็กรู้จักดูแลความสะอาดของตนเอง ไดแก่ การลางมือดวยสบู่หรือเจลลางมือ โดยเฉพาะก่อนรับประทานอาหารและหลังขับถ่าย หรือสัมผัสสิ่งสกปรกทุกครั้ง การปิดปาก ปิดจมูกดวยผาหรือกระดาษทิชชู เวลาไอ จาม การขับถ่ายในหองสวมที่ ถูกสุขลักษณะ เหล่านี้เป็นต้น หากเด็กได้รับการฝึกและปฏิบัติเป็นประจ�ำทุกวันจะ ท�ำให้เป็นนิสัยติดตัวเด็กและสามารถช่วยลดการแพร่เชื้อได้อีกทางหนึ่ง 5. การป้องกันอุบัติเหตุและความปลอดภัยในเด็กปฐมวัย การเกิดอุบัติเหตุในเด็กจะแตกต่างกันตามระดับ พัฒนาการของเด็ก ดังนั้นหากพ่อแม่ ผู้ปกครอง รวมถึงครู/ผู้ดูแลเด็กเข้าใจระดับพัฒนาการของเด็ก จะท�ำให้ ทราบถึงความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุในเด็กแต่ละวัย และสามารถหาแนวทางป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในเด็ก ได้ ดังแสดงในตาราง อายุ ระดับพัฒนาการ การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อย การป้องกันอุบัติเหตุและความปลอดภัย ในเด็กปฐมวัย 0-2 เดือน นอนคว�่ำ ยังไม่สามารถยก ศรีษะจากแนวราบได้ดี ขาดอากาศ เมื่อบริเวณที่นอนมีวัสดุ นุ่มฟู อุดจมูก ที่นอนเด็กไม่นุ่มเกินไป ควรมีผู้ดูแล อย่างใกล้ชิด 2-6 เดือน พลิกคว�่ำหงาย คว้าของหยิบ ของชิ้นเล็กเข้าปาก - ตกจากที่สูง - การบาดเจ็บจากการถูกของร้อน น�้ำร้อนลวก - ส�ำลักสิ่งแปลกปลอมอุดตัน ทางเดินหายใจ - ในห้องเลี้ยงเด็กไม่ควรมีวัตถุชิ้นเล็กๆ ที่เด็กสามารถคว้าเข้าปากหรือจมูกได้ - มีคอกกั้นเด็กส�ำหรับเกาะยืน และ ป้องกันการตกหล่น 6-12 เดือน กลิ้งได้ เหนี่ยวยืน เกาะยืน เดินหยิบของชิ้นเล็กเข้าปาก - พลัดหกล้ม - จมน�้ำส�ำลัก สิ่งแปลกปลอมอุดกั้น ทางเดินหายใจ - ได้รับสารพิษจากยา สารเคมี - ในห้องเลี้ยงเด็กไม่ควรมีวัตถุชิ้นเล็กๆ ที่เด็กสามารถคว้าเข้าปากหรือจมูกได้ - มีคอกกั้นเด็กส�ำหรับเกาะยืน และป้องกันการตกหล่น 12-18 เดือน เดิน วิ่ง ปีน สามารถใช้กล้าม เนื้อในการหยิบจับได้ ดื่มน�้ำ จากแก้ว - พลัดหกล้ม - จมน�้ำส�ำลัก สิ่งแปลกปลอมอุดกั้น ทางเดินหายใจ - ได้รับสารพิษจากยา สารเคมี - ในห้องเลี้ยงเด็กไม่ควรมีวัตถุชิ้นเล็กๆ ที่เด็กสามารถคว้าเข้าปากหรือจมูกได้ - ควรเก็บสารเคมีต่างๆ ในที่เด็กเอื้อม ไม่ถึง 18-24 เดือน วิ่ง เปิดลิ้นชัก ตู้ ประตู ปีนขึ้น เฟอร์นิเจอร์ - พลัดหกล้ม - ส�ำลักอาหารจากการวิ่ง ขณะรับประทานอาหาร - อันตรายจากการใช้ถนน - ได้รับสารพิษจากยา สารเคมี - มีการท�ำประตู/หน้าต่าง ปิดเปิดที่ แน่นหนา ป้องกันการปีนป่ายหรือ เปิดของเด็ก - หุ้มขอบเฟอร์นิเจอร์ หรือมุมต่างๆ ด้วยที่กันกระแทก - ควรเก็บสารเคมีต่างๆ ในที่เด็กเอื้อม ไม่ถึง 24-60 เดือน ขี่จักรยาน 3 ล้อ ใช้กรรรไกรได้ ขว้างโยนของชอบเล่น เครื่อง มือ เครื่องใช้ - อุบัติเหตุบนท้องถนน - การบาดเจ็บจากของมีคม - อุบัติเหตุจากสารพิษ - อุบัติเหตุทุกรูปแบบ - ผู้ดูแลให้ความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุ เบื้องต้นได้ เช่น การเดินข้ามถนนต้อง มีผู้ปกครองอยู่ด้วย การไม่เล่น ของมีคม เป็นต้น แนวปฏิบัติการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ของเด็กอายุต�่ำกว่า 3 ปี ตอนที่ 3 แหล่งที่มา: Developmental Aspects in Childhood Injuries. หน้า 308-314. Advance Pediatrics.

RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=