thank you mother

21 การประเมินภาวะโภชนาการ ของหญิงตั้งครรภ์ การประเมินภาวะโภชนาการเพื่อดูความ เหมาะสมในหญิงตั้งครรภ์ โดยดูจากน�้ำ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ ซึ่ง เพิ่มมากหรือน้อยไม่เหมือนกันทุกราย การ ประเมินนี้ขึ้นกับน�้ำหนักตัวของหญิงตั้ง ครรภ์ โดยคิดได้จากค่าดัชนีมวลกาย หรือ Body Mass Index (BMI) คิดได้จาก ดัชนีมวลกาย(BMI) = น�้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์ (กิโลกรัม) ส่วนสูง (เมตร 2 ) - น�้ำหนักตัวต�่ำกว่าเกณฑ์ (ผอม) <18.5 : น�้ำหนักตัวควรเพิ่มขึ้น 12.5-18 กก. - น�้ ำหนักตัวมากเกินเกณฑ์มาก (อ้วน) > 30 : น�้ำหนักตัวควรเพิ่มขึ้น 5-9 กก. - น�้ำหนักตัวเกินเกณฑ์มาตรฐาน (อ้วนเล็ก น้อย) > 23-29.9 : น�้ำหนักตัวควรเพิ่มขึ้น 7-11.5กก. - น�้ ำหนักตัวตามมาตรฐาน (สมส่วน) 18.5-22.9 : น�้ำหนักตัวควรเพิ่มขึ้น 11.5 -16 กก. ***โดยน�้ำหนักที่ควรจะเพิ่มขึ้นส่วนใหญ่ จะเพิ่มในไตรมาสที่ 2 และ 3 (6- 8 เดือน) ในไตรมาสแรก (3 เดือนแรก) อาจจะเพิ่ม เพียง 1-2 กก. เท่านั้น เนื่องจากหญิงตั้ง ครรภ์มักจะมีอาการแพ้ท้อง ท� ำให้ทาน อาหารได้น้อย บางรายอาจจะมีน�้ำหนักตัว ลดลงจากเดิม ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติ

RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=