thank you mother

48 3. เกิดก่อนก�ำหนด ทารกที่เกิดก่อนก�ำหนด ยังมีการท�ำงาน ของตับไม่ดี มักจะมีตัว เหลืองมากกว่าทารกครบก�ำหนดเสมอ 4. จากน�้ำนมแม่ เนื่องจากน�้ำนมแม่เฉพาะ บางคน จะมีสารที่ต้านการท�ำงานของตับ ในการขับถ่ายสารสีเหลืองจะท�ำให้ทารกตัว เหลืองได้ พบไม่บ่อยและจะเหลืองเมื่ออายุ มากกว่า 10 วัน แตกต่างจากตัวเหลือง ทั่วไปที่มักจะตัวเหลืองในสัปดาห์แรก ใน รายที่เหลืองมากๆ อาจต้องงดนมแม่ ชั่วคราว1-2วัน เพื่อให้หายเหลืองเร็วขึ้น ส่วนใหญ่สามารถกลับมาให้นมแม่ใหม่ได้ 5. จากการดูดนมแม่ เป็นตัวเหลืองในทารก แรกเกิดที่พบได้บ่อย และพบในสัปดาห์แรก เนื่องจากน�้ำนมยังมีน้อยท�ำให้ทารกขาดน�้ำ พลังงานและสารอาหาร ส่วนใหญ่มักไม่มี อันตราย และป้องกันโดยให้ทารกดูดนม มารดาได้บ่อย ๆ ในช่วงแรก 6. สาเหตุอื่นๆ ของตัวเหลือง เช่น การติด เชื้อ มารดาเป็นเบาหวาน ล�ำไส้อุดตัน ต่อม ธัยรอยด์ท�ำงานน้อย และความผิดปกติต่าง ๆ ของการขับถ่ายสารสีเหลือง เป็นต้น การรักษา 1. การส่องไฟ   มีหลักการคือใช้พลังงาน จากแสงที่มีคลื่นความถี่ใกล้เคียงกับแสงสี ฟ้าและสีเขียว ซึ่งจะเปลี่ยนสารสีเหลืองของ บิลิรูบิน ให้ละลายน�้ำได้ แล้วขับออกทาง ล� ำไส้และปัสสาวะ ในทางปฏิบัติอาจใช้ หลอดไฟนีออนสีขาว สีน�้ำเงิน หรือสีน�้ำเงิน พิเศษก็ได้ นอกจากนี้พลังงานแสงจาก หลอดไฟ LED มักจะให้พลังงานได้มากกว่า หลอดนีออนทั่วไป และให้ความร้อนน้อย ปัจจุบันจึงมีผู้นิยมใช้มากขึ้น วิธีการส่องไฟ คือการให้ผิวหนังทารกมีโอกาสถูกแสงมาก ที่สุด แต่ต้องปิดตา เพื่อไม่ให้แสงท� ำ อันตรายต่อประสาทตาของทารกได้ ระหว่างที่ส่องไฟทารกอาจมีถ่ายเหลวเล็ก น้อย มีผื่นตามผิวหนัง และสูญเสียน�้ำเพิ่ม ขึ้น ทารกจึงมักจะดูดนมเพิ่มขึ้นเองเพื่อ ป้องกันการขาดน�้ำ

RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=