คู่มือเยี่ยมบ้าน

16 3.4 ความสม�ำเสมอในการรับรู้และตอบสนอง การตอบสนองที่คงเส้นคงวาและเป็นไปในทางเดียวกันของผู้เลี้ยงดูทุกคนแต่ละคน จะท�ำให้เด็กมีจิตใจที่มั่นคง รู้สึก ปลอดภัย มั่นใจในตัวเอง และพร้อมที่จะเติบโตในสังคม ตัวอย่างกิจกรรมที่ช่วยสร้างสัมพันธภาพระหว่างแม่กับลูก • การนวดสัมผัส นวดลูกเบาๆอย่างน้อยวันละครั้ง โดยท�ำไปพร้อมๆ กับท�ำเสียงที่อ่อนโยนหรือบอกรัก • การพูดคุยหรือร้องเพลง ให้ลูกฟัง 3 หรือ 4 ครั้งต่อวัน เช่น หลังให้นม หรือฟังเสียง และสังเกตท่าทางที่ลูก ท�ำแล้วเลียนแบบพฤติกรรมนั้น • การเล่นกับลูก เลือกอุปกรณ์หรือของเล่นที่เหมาะสมกับอายุของลูก และเล่นกับลูกประมาณ 3 – 4 ครั้งต่อ วัน หลังให้นม เช่น น�ำสิ่งของในบ้านที่มีสีสันสวยงามให้ลูกดู หรือสิ่งของที่มีเสียง โดยถือสิ่งของนั้นให้ใกล้พอ ที่ลูกจะเอื้อมจับได้ 3.5. ให้แม่รู้จักอารมณ์ ความรู้สึก และความคิดของตนเองด้านความรู้สัมพันธ์แม่ลูก อาสาสมัครแนะน� ำให้แม่ส�ำรวจอารมณ์ ความรู้สึกและความคิดของตนเอง ในเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง ด้านความสัมพันธ์กับลูก และบันทึกลงในตารางส�ำรวจอารมณ์แม่ในการเยี่ยมบ้าน ครั้งที่ 3 ตารางส�ำรวจอารมณ์ อารมณ์ /ช่วงคะแนน คะแนนที่ได้ เหตุการณ์ที่ท�ำให้อารมณ์เปลี่ยนแปลง รูปแบบความคิดใหม่ ความคิด สถานการณ์ รู้สึกดีมาก : 81 - 100 รู้สึกดี : 61 – 80 รู้สึกดีเฉยๆ ไม่ดีแต่ก็ไม่แย่ : 41 – 60 รู้สึกแย่ : 21 – 40 รู้สึกแย่มาก : 0 – 20 ตัวอย่าง รู้สึกแย่ : 21 – 40 25 ฉันไม่มีเวลาเป็นของ ตั ว เ อ ง เ ล ย รู้ สึ ก เหนื่อยและหงุดหงิด ต้องดูแลลูกอย่างใกล้ ชิด ตลอดเวลา เพราะ ลูกยังช่วยเหลือตัว เองไม่ได้ และติดแม่ มาก เ ป็ น ธ ร ร ม ด า ข อ ง เ ด็ ก วั ย นี้ ที่ต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิด ฉันสามารถขอให้คนในครอบครัว มาช่วยดูแลลูกในขณะที่ฉันพัก ผ่อนได้

RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=