คู่มือเยี่ยมบ้าน
29 1. นอนตะแคง แทนท่านอนหงาย เพื่อให้มดลูกไม่กดทับเส้นเลือดใหญ่บริเวณด้านหลังของ ร่างกาย ท�ำให้เลือดไหลเวียนกลับเข้าหัวใจได้ดี และลดอาการบวม 2. เวลาจะนอน ควรค่อยๆ เอนตัวลงนอนจากท่านั่งเป็นท่านอน และเวลาตื่น ควรค่อยๆ ลุกจากท่านอนเป็นท่านั่ง 3. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร 2-3 ชั่วโมง ก่อนเข้านอน เพื่อลดอาการกรดไหลย้อน จุกเสียดแน่นท้อง 4. จัดห้องนอนให้เหมาะสม ห้องนอนควรมืดสนิท ไม่มีเสียงดังรบกวน เรื่องที่ 4 ข้อแนะน�ำการนอนหลับ ส�ำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เรื่องที่ 5 ข้อแนะน�ำกิจกรรมทางกาย ส�ำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เรื่องที่ 6 อาการแทรกซ้อนของแม่ช่วงตั้งครรภ์ที่ควรระวัง หากมีอาการข้อใดข้อหนึ่งให้ไปพบแพทย์ในทันที นอนวันละ 7-9 ชั่วโมง ควรนอนก่อน 4 ทุ่ม ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ฝึกความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อ 2. ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เน้นกล้ามเนื้อหน้าท้องและอุ้งเชิงกราน เพื่อสร้าง ความพร้อมในการคลอดลูก อย่างน้อย สัปดาห์ละ 2 ครั้ง และฝึกความอ่อนตัวของ กล้ามเนื้อ เพื่อลดอาการปวดเมื่อจากการรรับน�ำหนักลูกน้อยในครรภ์ เช่น โยคะ พิลาเต 1. ขยับเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจ�ำวัน เช่น การท�ำงานบ้าน การเดิน การว่ายน�ำ อย่างน้อย 150 นาที ต่อสัปดาห์ ปัสสาวะแสบขัด หรือลำ�บาก เลือดออกจากช่องคลอด ปวดศีรษะมาก ตาพร่ามัว จุกแน่นยอดอก บวมที่เท้ากดบุ๋ม เด็กดิ้นน้อยลงมากหรือไม่ดิ้น เจ็บที่หลังแล้วปวดร้าวมาถึงด้านหน้าบริเวณหัวหน่าวและท้องน้อย อาการปวดท้องอยากถ่ายอุจจาระ มีน�ำเดินลักษณะใสๆ ไหลออกจากช่องคลอด ให้ใส่ผ้าอนามัยไว้แล้วรีบมาโรงพยาบาล ข้อแนะน�ำกิจกรรมทางกาย
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=