โรคติดต่อนำโดยยุงลาย
7 ยุงลายเป็นแมลงพาหะน�ำโรค - โรคไข้เลือดออก - โรคติดเชื้อไวรัสซิกา - โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ยุงลาย มีล�ำตัวและขาสีขาวสลับด�ำ ยุงลายมี 2 ชนิด คือ ยุงลายบ้าน และยุงลายสวน ยุงลายสวน เป็นยุงลายอีกสายพันธุ์หนึ่งที่เป็นพาหะน�ำ โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อ ยุงลาย (ชิคุนกุนยา) สามารถขยายพันธุ์ได้ในบริเวณที่มี ต้นไม้มากๆ) ในสวน หรือในป่า มักวางไข่บริเวณต้นไม้ โพรงไม้ ที่มีความชื้น ท�ำความรู้จัก...ยุงลาย “ควรเก็บเศษขยะ ดูแลภาชนะที่ไม่ใช้แล้วไม่ให้มีนํ้าขัง และหมั่นขัดท�ำความสะอาดภาชนะที่ใช้บรรจุนํ้าทุกสัปดาห์ เพื่อป้องกันไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย” ยุงลายบ้าน เป็นพาหะน�ำโรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อ ไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) ยุงลาย ออกหากินในเวลากลางวัน หรือตอนเย็นๆ) ใกล้พลบคํ่า ยุงลายบ้าน เป็นยุงที่มีขนาดเล็ก ประมาณ 3-4 มม. บิน ได้ว่องไว มีถิ่นก�ำเนิดในทวีปแอฟริกา และพบในแถบ ร้อนชื้น ยุงลายกิน อยู่ ขยายพันธุ์อย่างไร แม้ว่า ยุงลายจะกินนํ้าหวานจากดอกไม้และผลไม้เป็นอาหาร แต่ยุงตัวเมียต้องกินเลือด เพื่อน�ำโปรตีนในเลือดไปพัฒนาไข่ ให้เจริญเติบโต หลังจากกินเลือดแล้ว 2-3 วัน ยุงลายเพศเมียก็จะหาที่วางไข่ ยุงเพศผู้มีอายุสั้นประมาณ 6-7 วัน เท่านั้น ส่วนยุงเพศเมียมีอายุนานกว่า หากมีอาหารสมบูรณ์ อุณหภูมิและความชื้นพอเหมาะ ยุงลายเพศเมียอาจอยู่ได้นานประมาณ 30-45 วัน การหากินและขยายพันธุ์ของยุงลาย ยุงลาย วางไข่ครั้งละ 50-150 ฟอง ตามภาชนะขังนํ้าที่มีนํ้านิ่ง ใส วางไข่ได้ 4-5 ครั้ง ตลอดชีวิต ยุงลายเกาะพักตามเสื้อผ้า ที่ห้อยแขวน หรือมุมอับชื้นภายในบ้าน และนอกบ้าน หากินบริเวณรอบๆ บ้าน บินไกล 40 - 100 เมตร ยุงลายออกหากิน ในเวลากลางวัน ช่วงสายและบ่าย
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=