คู่มือการดูแลแม่วัยรุ่นแบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลแม่วัยรุ่นแบบบูรณาการ 112 ภาค นวก 6: ตัวอย่างสื่่อในการสร้้างความเข้าใจกัับครอบครัวและ ชุมชน (โดย มาคมวางแ นครอบครัวแห่งประเ ไ ย ใน ระราชูปถัมภ์ มเด็ ระศรีีนคริน ราบรมราชชนนี) ตััวอย่างนี้� เป็ ภิ ก (แบ่งครึ่� ง ยาว) สำำ �หรัับแก ำ �อ มัั ร เพื่� อใช้ใ การชวนคุุยกับ รอบครััวและชุุมช ของแ่ วัยรุ่ ใ้ ระั ก ง ว้ องการเ ะั้ งกายิ และั ง ของวัยรุ่ั้ ง รรภ์และแ่ วัยรุ่ รวั้ งใ้ั ววัยรุ่ เอง ระั ก ง วั บ้ อ งกายิั ง ของการั้ ง รรภ์ใ วัยรุ่ ด้วย ร ดาวน์์โ ลดได้ที่� https://ppat.or.th/wp-content/uploads/2021/07/สื ่� อ สร้้าง ว เข้าใ -การดูแล-แม่่วัยรุ่่�.pdf การตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นและส่งเสริม การดูแลแม่วัยรุ่นในชุมชน ความเข้าใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับ... ส� าหรับแกนน� าดูแล แม่วัยรุ่นในชุมชน �������������/5 a/w.indd 2-3 9/1/2563BE 11:51AM ภาวะด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของแม่วัยรุ่น ด้านสังคม ด้านสติปัญญา • ความสนใจในการศึกษาเล่าเรียนลดน้อยลง • สมาธิในการเรียนลดลง • อารมณ์อ่อนไหว วิตกกังวล สับสน กังวลจากกการ ไม่มีประสบการณ์ ในการตั้งครรภ์ • หวั่นเกรงต่อการตีตรา ของสังคม และเสี่ยงต่อ การเกิดภาวะซึมเศร้า ด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา • อยากรู้อยากเห็นมีจินตนาการชอบความแปลกใหม่ ตื่นเต้น เร้าใจชอบความเสี่ยงและ ความท้าทาย ท� าให้ไม่สามารถตัดสินใจได้รอบคอบและรอบด้าน • ควรได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะต่างๆในชีวิต ด้านร่างกาย • มีอารมณ์อ่อนไหว ว้าวุ่น สับสน ลังเล และไม่แน่ใจ • ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม • ต้องการการยอมรับ และมักวิตกกังวลเกี่ยวกับ ภาพลักษณ์ของตัวเอง • ต้องได้รับการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องในการจัดการด้านอารมณ์ ด้านสังคม • ให้ความส� าคัญกับเพื่อน ครอบครัว ติดเพื่อน ภาวะด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของวัยรุ่นหญิง • หน้าอกขยายขนาด มากขึ้นจากการตั้งครรภ์ • สะโพกผายแต่ยังไม่เต็มที่ และยังไม่พร้อมส� าหรับ การตั้งครรภ์และการคลอด • มีการเปลี่ยนแปลงของ ฮอร์โมนในร่างกายท� าให้ เสีี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า ในระหว่างการตั้งครรภ์และ หลังคลอด 1 ด้านอารมณ์ 2 3 4 1 ด้านอารมณ์ 2 3 4 • หากเป็นการตั้งครรภ์ ที่ไม่พร้อม จะปกปิดการตั้งครรภ์ ไม่ต้องการให้เพื่อน และสังคม รับรู้ จะแยกตัวจากกลุ่มเพื่อน และสังคม • หน้าอกเริ่มขยาย • สะโพกเริ่มผาย • มีการพัฒนาทางด้านร่างกาย แต่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ �������������/5 a/w.indd 4-5 9/1/2563BE 11:51AM เสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตสูง ในระหว่างตั้งครรภ์ 1 เสื่ยงต่อการเป็น อันตรายต่อชีวิต และการเสียชีวิต 2 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะโลหิตจาง ฮีโมโกลบิน ฮีมาโตคริต พลาสมา เสี่ยงต่อการคลอดทารก น�้ าหนักตัวน้อย 4 5 3 เสี่ยงต่อการคลอด ก่อนก� าหนด ร่างกายเจริญเติบโตเต็มวัย มีความพร้อมในการตั้งครรภ์ ความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ในระหว่างตั้งครรภ์น้อยกว่า การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 1 เสี่ยงต่อการเกิด ภาวะโลหิตจาง น้อยกว่า การตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น ร่างกายเจริญ เติบโตเต็มที่ อุ้งเชิงกรานปกติ เหมาะแก่การตั้งครรภ์ และการคลอด 3 เสี่ยงต่อการคลอด ก่อนก� าหนดน้อย และมีความเสี่ยง ในการคลอดทารก น�้ าหนักตัวน้อย (low birthweight) น้อยกว่าในแม่วัยรุ่น 4 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย ของแม่วัยรุ่น (จี จี้ อายุ 15 ปี) การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย ของแม่วัยผู้ใหญ่ (เอมี่ อายุ 25 ปี) low birthweight = ในทารกมีน�้ าหนักตัว 2,500 กรัม ภาวะเลือดใส hemodilution 10.4 g/dl ภาวะโลหิตจางรุนแรง 7.0 g/dl 11.0 g/dl ฮีโมโกลบิน 31 % ฮีมาโตคริต ภาวะโลหิตจาง 2 6 ร่างกายเจริญเติบโตไม่เต็มที่ • อาจพบอุ้งเชิงกรานแคบ ท� าให้คลอดธรรมชาติยาก อาจเกิดอันตรายต่อทารก เส้นผ่าศูนย์กลาง < 12 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง > 12 ซม. • การตัดมดลูกจากการยุติ การตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย • เกิดความพิการจากยุติ การตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย • ตกเลือดและเกิดภาวะติดเชื้อ • ร่างกายหยุดการเจริญเติบโต หรือร่างกายเจริญเติบโตช้า �������������/5 a/w.indd 6-7 9/1/2563BE 11:51AM • การช่วยเหลือ และสนับสนุน แม่วัยรุุ่นจากครอบครัว และชุมชน ครอบครัว เพื่อน ครู เพื่อนบ้านและชุมชน เจ้าหน้าที่ภาครัฐ และภาคประชาสังคม ท� างานร่วมกันเป็นเครือข่าย ในการช่วยเหลือ สนับสนุนให้แม่วัยรุ่นสามารถดูแลตนเองและลูก สามารถเข้าถึงสิทธิบริการด้านต่างๆ เช่น การศึกษา การฝึกทักษะอาชีพ และมีอนาคตที่ดีได้ การตั้งครรภ์เมื่อแม่มีความพร้อม ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจและสังคม ได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวและสังคม ท� าให้การตั้งครรภ์มีคุณภาพ มารดาและทารก มีสุขภาพแข็งแรง และมีโอกาสพัฒนาได้อย่างเต็มที่ 600 B การช่วยเหลือ และสนับสนุน แม่วัยผู้ใหญ่จากครอบครัว และชุมชน �������������/5 a/w.indd 8-9 9/1/2563BE 11:51AM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=